วันที่ 5 กันยายน 2562 | |||||
เวลา | ประดู่แดง 2 | E4-507 | E4-508 | E4-509 | E4-518 |
08.00-08.45 น. | ลงทะเบียน | ||||
08.45-09.00 น. | พิธีเปิด | ||||
09.00-09.45 น. | ปาฐกถา “อาเซียนใต้ชะเงื้อมทุนนิยมจีน” โดย ศ.ดร.ยศ สันตสมบัติ |
- | - | - | - |
09.45-10.00 น. | -รับประทานอาหารว่าง- | ||||
10.00-12.00 น. | เสวนาโต๊ะกลม | ||||
01 “คะฉิ่น” กรงขังในสนามรบ โดย1) Mr.Htoi Lar Maran (Kachin) Co-founder : Kachin Youth Union2) Reverend Noel Naw Lat. (Kachin ) Secretary :Kachin Humanitarian Concern Committee |
02 Shrinking Refuge: New threats to Refugee Security on the Shan-Thai border โดย1) Charm Tong, Shan Human Rights Foundation2) เพียรพร ดีเทศน์ องค์กรแม่น้ำนานาชาติ |
03 อิทธิพลจีนกับการพัฒนาในประเทศลุ่มน้ำโขง 1) การส่งออกผลไม้สดจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจีนโดย ดร.อังคณา กมลเพชร2) ชเวโก๊กโก้: ทุนจีนในชายแดนพม่า โดย อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ 3) การตั้งถิ่นฐานและการเดินทางเคลื่อนย้ายของชาวฮั่นในเขตปกครองตนเองชนชาตไทสิบสองปันนา ยูนนาน |
|||
ให้ความเห็นโดย: กรรณิกา เพชรแก้ว |
ให้ความเห็นโดย: ผศ.ดร.นฤมล ทับจุมพลดำเนินรายการโดย: ดร.ธนิกุล จันทรา |
ให้ความเห็นโดย: ผศ.ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ดำเนินรายการโดย: ปฐมพงศ์ มโนหาญ |
|||
12.00-13.00 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน-@ ลานอเนกประสงค์ | ||||
13.00-14.30 น. | - | การนำเสนองานวิชาการ (นำเสนอคนละ 15 นาที) | Work Shop | ||
01 ชนชายแดน:เศรษฐกิจ อำนาจรัฐ และความขัดแย้ง | 02 ชายแดนเชียงของในความเปลี่ยนแปลง | 03 สินค้าเกษตรไทยในตลาดจีน | โดยกลุ่มรักษ์เชียงของ | ||
1. เหยื่อในพื้นที่ความขัดแย้ง: ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ โดย ซารีฮาน สุหลง |
1. เชียงของกับการเติบโตของเมืองเครือข่ายในอาณาบริเวณชายแดนลุ่มน้ำโขงตอนบน โดย ผศ.ดร.วสัตน์ ปัญญาแก้ว |
1. การศึกษาความรู้ความเข้าใจต่อการผลิตและการส่งออกสับปะรดแก่ประเทศจีนของชุมชนนางแล จังหวัดเชียงราย โดย ซ่อซิง เมธาธารณ์กุล |
|||
2. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไทยกับ“คนอื่น” ในพื้นที่ชายแดน กรณีศึกษา : กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง หมู่บ้านห้วยแห้งอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี โดย พิชญุตม์ บงกชพรรณราย |
2. สะพานมิตรภาพ 4 (เชียงของ – ห้วยทราย) และการระเบิดแก่งหินแม่น้ำโขง: ความลักลั่นในกระบวนการสร้างความเป็นพรมแดนใหม่ที่เชียงของ พิจารณาจากมุมมองภูมิรัฐศาสตร์และหน้าที่ของพรมแดน โดย สืบสกุล กิจนุกร |
2. แนวทางการส่งเสริมการผลิตข้าวเหนียวไทยเพื่อส่งออกตลาดจีน กรณีศึกษา การผลิตข้าวเหนียวเขี้ยวงู จังหวัดเชียงราย โดย รัญญา จันทะกูล (ผู้นำเสนอ) ดร.ณัฐวุฒิ มีชัยโย Mr.Jian Guo |
|||
3. พลวัต “กาดเมืองเชียงตุง” บนเวทีเศรษฐกิจและความเป็นชาติพันธุ์ โดย ดร.ดุจฤดี คงสุวรรณ์ |
3.ปฏิบัติการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของผู้ใช้บริการสุขภาพชาวพม่าและลาวในจังหวัดชายแดนเชียงราย โดย กรวรรณ บัวดอกตูม |
3. วัวควายข้ามแดน:บทวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของเส้นทางการค้าจากเมียนมาสู่จีน โดย รศ.ดร.เก่งกิจ กิตติเรียงลาภ |
|||
ผู้ให้ข้อเสนอแนะ:ผศ.ดร.นลนี ตันธุวนิตย์
ดำเนินรายการโดย: ทิฆัมพร สิงโตมาศ |
ผู้ให้ข้อเสนอแนะ:ดร.ชลิตา บัณฑุวงศ์
ดำเนินรายการโดย: ธัญญธร สายปัญญา |
ผู้ให้ข้อเสนอแนะ:Dr. .Simon Rowedder
ดำเนินรายการโดย: ฑริดา ใบเกษม |
|||
14.30-14.45 น. | -รับประทานอาหารว่าง- | ||||
14.45-16.00 น. | หนังสือเสวนา | Work Shop | |||
01 ลื้อสิบสองปันนา การพัฒนาและการเดินทางเคลื่อนที่ของผู้คน โดย ผศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว |
02 สวนกาแฟ โครงสร้างพื้นฐาน แรงงาน: การเมืองของการเคลื่อนย้ายในลาว โดย ดร.บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล และดร.วาสนา ละอองปลิว |
03 ประสบการณ์ทำงานภาคสนาม: วิจัยชาติพันธุ์ในจังหวัดเชียงใหม่ โดย นักศึกษาชั้นปีที่ 4 และศิษย์เก่าสาขาวัฒนธรรมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ |
โดยกลุ่มรักษ์เชียงของ | ||
ร่วมเสวนาโดย ผส.ดร. พลวัต ประพัฒน์ทอง และ Dr. .Simon Rowedderดำเนินรายการโดย: สืบสกุล กิจนุกร |
ร่วมเสวนาโดย ผศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล |
ร่วมเสวนาโดยพิสุทธิลักษณ์ บุญโต ดำเนินรายการโดย: ทิฆัมพรสิงโตมาศ |
|||
16.00-18.00 น. | -งานเลี้ยงรับรอง- |
วันที่ 6 กันยายน 2562 | |||||
เวลา | ประดู่แดง 2 | E4-507 | E4-508 | E4-509 | E4-518 |
09.00-09.45 น. | ปาฐกถา “บทบาทของประชาชนกับการพัฒนาข้ามแดนอาเซียน"” โดย คุณนิวัฒน์ ร้อยแก้ว |
- | - | - | - |
09.45-10.00 น. | -รับประทานอาหารว่าง- | ||||
10.00-12.00 น. | เวทีสาธารณะ “ความรับผิดชอบของจีนกับการพัฒนาลุ่มน้ำโขง: มุมมองจากภาคประชาสังคมไทย” โดย 1. สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา 2. สุวิทย์ กุหลาบวงษ์ 3. สมนึก วงมีวศิณ 4. ส.รัตนมณี พลกล้า ดำเนินรายการและร่วมอภิปราย : พรพนา ก๊วยเจริญ |
- | - | - | |
12.00-13.00 น. | -พักรับประทานอาหารกลางวัน- | ||||
13.00-15.00 น. | การนำเสนองานวิชาการ (นำเสนอคนละ 15 นาที) | Work Shop | |||
04 เมืองเชียงราย ทวาย และเมืองยอง: การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา ผู้คน และผลกระทบ | 05 ความเชื่อและพื้นที่ทางวัฒนธรรมในอาเซียน | 06 ดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงของชายแดน | โดย กลุ่มรักษ์เชียงของ | ||
1. พัฒนาการของเมืองเชียงราย ‘หลัง’ ยุคสงครามเย็น โดย ดร.ณัฐกร วิทิตานนท์ |
1. สำนักหออาสนะคำพญาศรีสุทโธนาค: ชุมชนพิธีกรรมของผู้คนที่ คำชะโนด โดย อนุชิต สิงห์สุวรรณ |
1. Smuggling in the Digital Era: How New Technology Changes the Landscape of Myanmar-Thailand Ruby Smuggling โดย อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ |
|||
2. บทบาทหอการค้าจังหวัดเชียงรายในการพัฒนาเมืองชายแดน ภาพสะท้อน “เศรษฐกิจยุคใหม่” ของจังหวัดเชียงราย โดย ปฐมพงศ์ มโนหาญ |
2. มานุษยวิทยาการพยากรณ์”: แรงงานทางอารมณ์และการประกอบสร้างตัวตนของแรงงานอพยพในบริบทของความเปลี่ยนแปลงในสังคมและวัฒนธรรมกัมพูชาปัจจุบัน โดย ดร. ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา |
2. ตลาดชายแดนไทยในโลกยุคดิจิทัล: กรณีศึกษา ตลาดโรงเกลือจังหวัดสระแก้ว โดย วินิสสา อุชชิน |
|||
3. ถนนเชื่อมต่อโครงการทวาย: ต้นทุนที่ถูกซุกซ่อนจากผลกระทบโครงการและกลไก/มาตรการแก้ไขปัญหาจากโครงการโดยชุมชนผู้ได้รับผลกระทบ โดย ธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร |
3. ภูมิทัศน์พื้นที่สูง เชียงราย เชียงตุง เชียงรุ่ง: ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ ศาสนา และผู้คน โดย ผศ.ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง |
3. สำรวจ 'ตลาดมืดออนไลน์' (dark web): สถานะ พลวัต สมรรถนะและผลกระทบเชิงสังคมและเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน โดย ศิริภัสสร์ พึ่งความสุข |
|||
4. ประวัติศาสตร์เส้นทาง R3B จากประสบการณ์ของคนไตลื้อ เมืองยอง 3 ยุค โดย พระสภาวุฒิ อภิสิทธิ์ |
|||||
ให้ความเห็นโดย: รศ.ดร.เก่งกิจ กิตติเรียงลาภดำเนินรายการโดย: สืบสกุล กิจนุกร |
ให้ความเห็นโดย: ศิริพร ศรีสินธุ์อุไรดำเนินรายการโดย: ทิฆัมพร สิงโตมาศ |
ให้ความเห็นโดย: พัฒนา สิทธิสมบัติ |
|||
15.00-15.15 น. | -รับประทานอาหารว่าง- | ||||
หนังสั้นเสวนา | Work Shop | ||||
15.15-16.30 น. | 01 Capital of Mae La โดย จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ นวลขนิษฐ์ พรหมจรรยา |
02 Gray Zone ชายแดนใต้ โดย คุณณัญญาพร จิระสมรรถกิจ นุรอาซีกีน ยูโซ๊ะ |
โดยกลุ่มรักษ์เชียงของ | ||
ร่วมเสวนาโดย: ผศ.ดร.จันทนี เจริญศรี |
ร่วมเสวนาโดย: ยศธร ไตรยศ |